ITD CRUSHING / ASPHALTIC PLANTS
![]() |
![]() |
ด้านภาวะแวดล้อม
-
ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบ จากการดำเนินการโรงโม่หิน คือ
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม http://www.pcd.go.th/index.cfm
http://www.pcd.go.th/Download/regulation.cfm Q & A ที่ประชาชนถามบ่อย ด้านสิ่งแวดล้อม http://www.pcd.go.th/contact/FAQs_air.html Q : ปัญหาโรงโม่หินหรือสัมปทานโรงโม่หินนั้นอยู่ในข่ายก่อมลพิษทางเสียงหรือไม่ A : -โรงโม่หิน เป็นกิจกรรมหนึ่งของการประกอบกิจการเหมืองหินที่ก่อให้เกิดมลพิษทางเสียง และเหมืองหินถูกประกาศเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือน ตั้งแต่ปี 2539 ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ต่อมามีการยกเลิกประกาศดังกล่าว และใช้ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548 แทน โดยกำหนดให้ตั้งเครื่องวัดระดับเสียงบริเวณขอบประทานบัตรหรือเขตประกอบการ หรือขอบด้านนอกของเตกันชัน (Buffer Zone) และในเขตที่มีการร้องเรียน และกำหนดค่ามาตรฐานดังนี้ - ค่าระดับเสียงสูงสุดต้องไม่เกิน 115 เดซิเบลเอ (ขณะระเบิดหิน) - ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 75 เดซิเบลเอ (ตลอดเวลา 8 ชั่วโมงที่มีการโม่ บด และย่อยหิน) - ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ (ต่อเนื่องตลอดเวลา 24 ชั่วโมงใด ๆ)
โครงการ โรงโม่ เหมืองหิน ติดดาว สืบเนื่องจากสถานประกอบกิจการโรงโม่บดหรือย่อยหิน รวมทั้งเหมืองหินเป็นแหล่งกำเนิด มลพิษตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ซึ่งมีปัญหาหลักด้านการระบายฝุ่นละอองออกสู่บรรยากาศ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต?อสุขภาพอนามัยของประชาชนที่สัมผัสฝุ่นละอองดังกล่าว ตลอดจนส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมทั่วไป ซึ่งในช่วงที่ผ่านมากรมควบคุมมลพิษ ได้รับการร้องเรียนเรื่องปัญหาฝุ่นละอองจากกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้ที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับสถานประกอบการ เช่น กรณีโรงโม่ฯ ในจังหวัดราชบุรี และสระบุรี เป็นต้น ดังนั้น กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงเล็งเห็นความสำคัญในการที่จะมีส่วนร่วมในการกำกับดูแลสถานประกอบกิจการ ดังกล่าวให้ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนดทั้งในส่วนของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม และประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นในปี 2549 จึงริเริ่มดำเนินโครงการ โรงโม่ เหมืองหิน ติดดาว เพื่อจัดระเบียบโรงโม่ฯ และเหมืองหินทั่วประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ 49 จังหวัด โดยมีโรงโม่หิน และเหมืองหินเข้าร่วมโครงการจำนวน 338 แห่ง และ 321 แห่ง ตามลำดับ ซึ่งโครงการ มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ข้อคือ 1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานเชิงรุกในการกำกับดูแลโรงโม่หิน และ เหมืองหินด้วยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และ 2) เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความตระหนักและ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น http://www.pcd.go.th/info_serv/air_stonecrushingmill.html#s6 |
![]() |
![]() ![]() |
|||||||||||||||||||||||||||||
![]() |